11 ส.ค. E-Payslip คืออะไร
หลังจากที่กิจการได้คำนวณเงินเดือน ภาษี ประกันสังคมของพนักงานแต่ละคนเสร็จแล้ว ก็จะต้องออกใบแจ้งเงินได้ให้พนักงาน ให้เขาได้ทราบว่าเดือนนี้ได้รับค่าจ้างรวมเป็นเงินเท่าไร มีรายได้หรือรายการหักอะไรบ้าง...
หลังจากที่กิจการได้คำนวณเงินเดือน ภาษี ประกันสังคมของพนักงานแต่ละคนเสร็จแล้ว ก็จะต้องออกใบแจ้งเงินได้ให้พนักงาน ให้เขาได้ทราบว่าเดือนนี้ได้รับค่าจ้างรวมเป็นเงินเท่าไร มีรายได้หรือรายการหักอะไรบ้าง...
ให้การจัดทำเงินเดือนในแต่ละครั้งมีความสะดวก รวดเร็ว และง่ายกว่าเดิม รองรับพนักงานรายเดือน รายวัน จ่ายเงินทั้งแบบรายเดือน รายอาทิตย์ ราย 15 วัน คำนวณเสร็จส่งข้อมูลจ่ายเงินผ่านธนาคาร ส่งใบแจ้งเงินได้ให้พนักงานในรูปแบบ E-Payslip (ส่งใบแจ้งเงินได้ผ่านทางอีเมล)...
ทุกบริษัทต้องมีพนักงานช่วยทำงาน ก็มีทั้งแบบรายวัน รายเดือน จ่ายเงินเดือนละ 1 ครั้งบ้าง 2 ครั้งบ้าง ที่เจ้าของกิจการไม่ได้รู้สึกว่างานบัญชีเงินเดือนนั้นยุ่งยาก วุ่นวาย เพราะตัวเจ้าของส่วนใหญ่ไม่ได้ทำเอง...
โปรแกรมบัญชี อาจจะดูเป็นเรื่องที่หลายคนยังมองไม่เห็นความจำเป็น เพราะยอดขายยังไม่มาก สินค้าไม่ได้มีเยอะ เงินเข้าออกแต่ละวันก็ไม่กี่รายการ เลยคิดว่าไม่มีความจำเป็น ไว้รอให้วันนึงเปิดบิลเยอะๆ ก่อนแล้วค่อยคิดอีกที...
สำหรับกิจการที่คิดจะนำโปรแกรมบัญชี EASY-ACC ไปใช้ โดยส่วนใหญ่ก็จะนำไปออกใบกำกับ คุมสต็อก เท่านั้น แต่ทราบหรือไม่ว่าหลังจากที่คุณบันทึกรายการลงไป โปรแกรมให้ข้อมูลที่สำคัญหลายอย่างที่คุณสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในธุรกิจได้...
ข้อมูลทางการบัญชี ที่เป็นเครื่องมือในการช่วยตัดสินใจทางธุรกิจ โปรแกรมบัญชี EASY-ACC จะเก็บสะสมข้อมูล และประมวลข้อมูลทางบัญชีและการเงินให้ผู้ใช้งาน ระบบเหล่านี้ถูกออกแบบมาเพื่อสนับสนุนงานทางด้านบัญชี สามารถนำไปใช้ในธุรกิจได้หลายทา...
ทุกกิจการจะต้องมีพนักงานเป็นผู้ช่วยในการทำธุรกิจ โดยมีค่าตอบแทนให้กับพนักงานเป็นเงินเดือนค่าแรง ตามกฏหมายนายจ้างมีหน้าที่ที่จะส่งจัดทำเอกสารให้กับทางราชการ อาทิ การนำส่งภาษี เงินประกันสังคม บางกิจการอาจจะมีนำส่งเงินกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ พอถึงสิ้นปีก็จะต้องมีออกเอกสารอีก ขั้นตอนต่างๆ เหล่านี้จะไม่ใช่เรื่องยุ่งยาก และไม่ต้องใช้เวลามากมายเมื่อมีผู้ช่วยคนเก่ง อย่างโปรแกรมบัญชีเงินเดือน EASY-ACC Payroll...
การทำธุรกิจทุกวันนี้มีหลายคนที่รับงานเป็นจ๊อบๆ หรือเป็น "ฟรีแลนซ์" พอเสร็จงานก็รับเงิน ผู้จ้างก็จะหัก ณ ที่จ่าย เพื่อนำส่งให้สรรพากร บางคนก็อาจจะมีรายได้ดีเกินกว่า 1.8 ล./ปี ก็คิดว่ายื่นนำส่งภาษีถูกต้องแล้ว แต่ปรากฏว่าโดนเรียกเก็บภาษีย้อนหลัง...